Data Structure 7-05/08/52

วันอังคารที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2552

ประโยชน์ที่ได้รับจากการเเรียนวิชาโครงสร้างข้อมูลครั้งที่ 7
1.ได้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลเรื่องคิว(Queue)อันได้แก่
1.1 ลักษณะการทำงานของคิวโดยคิวเป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้นหรือลิเนียร์ลิสต์ซึ่งการเพิ่มเข้าของข้อมูลจะกระทำที่ปลายข้างหนึ่งโดยเรีัยกส่่วนท้ายว่าเรียร์(rear) และการนำออกข้อมูลจะกระทำที่ปลายข้างหนึ่งซึ่งเราเรียกว่าส่วนหน้าหรือฟรอนต์(front)
1.2 ลักษณะการทำงานของคิวเป็นลักษณะการเข้าก่อนออกก่อนหรือที่เราเรียกว่า FIFO
(First In First Out)

2.ได้ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการเกี่ยวกับคิว(Queue)อันได้แก่
2.1 Create Queue คือการสร้างคิวดดยกำหนดหน่วยความจำแก่คิว
2.2 Enqueue คือการเพิ่มข้อมูลลงไปในคิว
2.3 Dequeue คือการนำข้อมูลออกมาจากคิว
2.4 Queue Front คือการนำข้อมูลที่อยู่ส่วนต้นของคิวมาแสดง
2.5 Queue Rear คือการนำข้อมูลที่อยู่ในส่วนท้ายของคิวมาแสดง
2.6 Empty Queue คือการตรวจสอบคิวว่าคิวมีความจำว่างหรือไม่
2.7 Full Queue คือการตรวจสอบคิวว่าคิวมีความจำเต็มหรือไม่
2.8 Queue Count คือการนับจำนวนสมาชิกที่อยู่ในคิว
2.9 Destroy Queue คือการลบข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในคิว

3.มีความรู้ในการแก้ปัญหาของคิวโดยการสร้างคิวเป็นแบบวงกลม

4.สามารถนำคิวที่ได้เรียนจากวิชาโครงสร้างข้อมูลครั้งที่ 7 นี้ไปประยกต์ให้เกิดประโยชน์ในด้านคอมพิวเตอร์

Data structure 6-29/07/52

วันอังคารที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2552

ประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนวิชาโครงสร้างข้อมูลครั้งที่ 6
1.ได้รับความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลแบบสแตกมีการทำงานเป็นอย่างไร
2.ได้รับความรู้เกี่ยวกับการแทนที่ข้อมูลแบบสแตกอันได้แก่
2.1 การแทนที่ข้อมูลของสแตกแบบลิงค์ลิสต์
2.2 การแทนที่ข้อมูลของสแตกแบบอะเรย์
3.ได้รับความรู้เกี่ยวกับการทำงานของดำเนินงานของสแตกและสามารถทำการดำเนินงานของสแกได้อันได้แก่
3.1 Create Stack
3.2 Push Stack
3.3 Pop Stack
3.4 Stack Top
3.5 Empty Stack
3.6 Full Stack
3.7 Stack Count
3.8 Destroy Stack
4.ได้รับความรู้เกี่ยวกับการแปลงค่านิพจน์ทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย 3 รูปแบบได้แก่
4.1 Infix
4.2 Postfix
4.3 Prefix